Wednesday, September 27, 2006

 

What is Democracy?

-

วันนี้ เรามาทำความรู้จักกับคำว่าประชาธิปไตยกันเถอะครับ ว่าความหมายของตัวประชาธิปไตยเอง หมายถึงอย่างไร

Definition of Democracy:

Democracy, from wikipedia website, (literally "rule by the people", from the Greek demos, "people," and kratos, "rule") is a form of government for a nation state, or for an organization in which all the citizens have a vote or voice in shaping policy.

เห็นหลายคนเข้าใจความหมาย Democracyไปในตามความเข้าใจของตัวเอง ผมเลยเอาความรู้เรื่อง Democracy ที่เป็นสากลมาให้ดูกันครับ ไม่รู้ว่าจะเบื่อกันไหม ถ้าน่าเบื่อก็ขออภัยด้วยครับ

บางท่านบอกว่ารู้จัก Democracy ดี ใครบ้างเอ๋ยที่จะรู้ว่า Democracy มีด้วยกันกี่ชนิดด้วยกัน

1. Direct

Direct democracy is a political system where the citizens vote on all major policy decisions. It is called direct because, in the classical forms, there are no intermediaries or representatives. Current examples include many small civic organizations (like college faculties) and town meetings in New England (usually in towns under 10,000 population).

2. Representative

Representative democracy is so named because the people select representatives to a governing body. Representatives may be chosen by the electorate as a whole (as in many proportional systems) or represent a particular district or constituency), with some systems using a combination of the two. Some representative democracies also incorporate some elements of direct democracy, such as referenda.

Liberal

Liberal democracy is a representative democracy (with free and fair elections) along with the protection of minorities, the rule of law, a separation of powers, and protection of liberties (thus the name liberal) of speech, assembly, religion, and property. Conversely, an illiberal democracy is one where the protections that form a liberal democracy are either nonexistent, or not enforced. The experience in some post-Soviet states drew attention to the phenomenon, although it is not of recent origin. Napoleon for example used plebiscites to ratify his imperial decisions.


หลักการของระบบประชาธิปไตยประกอบด้วย 5 หลักการคือ

1. หลักเสียงข้างมากที่รับฟังเสียงข้างน้อย (Majority Rule and Minority Right)

2. หลักเสรีภาพ (Rule of Freedom) ทุกคนมีเสรีภาพในการครองชีวิต ที่ไม่ไปละเมิดเสรีภาพของผู้อื่น

3. หลักเสมอภาค (Rule of Equity) ประชาชนทุกคนมีความเสมอภาคในการเข้าถึงการบริการพื้นฐานของรัฐเท่าเทียมกัน

4. หลักผู้บริหารมาจากการเลือกตั้ง (Popular Sovereignty) เพราะผู้บริหารที่มาปกครองบ้านเมืองเป็นตัวแทนของประชาชนที่แท้จริง และทำสัญญาประชาคมกับประชาชนว่าจะมาทำงานใดให้กับประชาชน

5. หลักกฎหมาย (Rule of Law) กฎหมายที่ออกมาต้องบังคับใช้กับทุกชนชั้นอย่างเท่าเทียมกัน

เอาล่ะ ถ้าเรามาCompareกับบ้านเมืองเราดู เรามาดูว่ารัฐบาลทักษิน เข้ากับหลักข้อไหน และไม่เข้ากับหลักข้อไหนบ้าง

หรือถ้าอีกมิติหนึ่งก็คือว่าคปป.หรือรสช.จะเข้าหรือไม่เข้ากับหลักข้อไหนบ้าง อันนี้ผมให้แต่ล่ะคนวิเคราะห์กันเองนะครับผม

อ๊ะ ๆ จะมาถามผมล่ะสิ ว่าผมคิดเห็นอย่างไร ไม่ตอบหรอก รู้หน่า จะจัดข้างให้ผมใช่ไหมล่ะ :P ยังไงก็ปล่อยผมอยู่ตรงกลางเป็นคนให้ความรู้คนอื่น ๆ ล่ะกันนะครับ

ไม่รู้จะทำให้หลายคนง่วงนอนไหม เอาเป็นว่าวันนี้พอแค่นี้ก่อนล่ะกันครับ

Comments:
ยกคุณสมบัติของประชาธิปไตยมาแล้ว
น่าจะยกคุณสมบัติของระบอบอื่นมาด้วยนะครับ
เพราะในการปกครองของทุกประเทศมันมีทุกระบอบผสมผสานกันอยู่
เพียงแต่ว่าให้น้ำหนักไปทางไหนมากกว่ากัน
 
ขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ
 
Post a Comment



<< Home

This page is powered by Blogger. Isn't yours?